กรดแก่-เบสแก่จะมีสามารถในการละลายน้ำให้สารละลายที่มีไอออนได้มากมีความแรงของกรดหรือเบสสูง
ในทางการคำนวณถือว่ากรดแก่และเบสแก่แตกตัวได้ 100% ดังนั้นในการแตกตัวของกรดแก่และเบสแก่
***มีแต่เฉพาะปฏิกิริยาไปข้างหน้าจีงไม่เกิดสมดุลขี้น เช่น
HClH + + Cl-
HNO 3 H ++ NO3-
NaOH Na+ + OH-
KOH K + + OH-
2.การแตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อน
กรดอ่อน-เบสอ่อนเมื่อละลายน้ำจะมีการละลายแตกตัวให้ไอออนในสารละลายได้น้อยคง
เหลือโมเลกุลของกรดอ่อนหรือเบสอ่อนอยู่มาก เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ คือเกิดสมดุลขึ้นจึงสามารถหาค่าคงที่สมดุลของกรดอ่อน(Ka)หรือค่าคงที่สมดุลของ
เบสอ่อน(Kb)ได้นอกจากนี้ค่าคงที่ดังกล่าวยังสามารถบอกความแรงของกรดหรือเบสได้อีกด้วย
-ถ้า Ka ,Kb มากแสดงว่ากรดอ่อนหรือเบสอ่อนนั้นมีความแรงมาก
-ถ้าKa ,Kb น้อยแสดงว่ากรดอ่อนหรือเบสอ่อนนั้นมีความแรงน้อย
เหลือโมเลกุลของกรดอ่อนหรือเบสอ่อนอยู่มาก เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ คือเกิดสมดุลขึ้นจึงสามารถหาค่าคงที่สมดุลของกรดอ่อน(Ka)หรือค่าคงที่สมดุลของ
เบสอ่อน(Kb)ได้นอกจากนี้ค่าคงที่ดังกล่าวยังสามารถบอกความแรงของกรดหรือเบสได้อีกด้วย
-ถ้า Ka ,Kb มากแสดงว่ากรดอ่อนหรือเบสอ่อนนั้นมีความแรงมาก
-ถ้าKa ,Kb น้อยแสดงว่ากรดอ่อนหรือเบสอ่อนนั้นมีความแรงน้อย
HA +H2O =H+ + A-Ka = [ H+][ A-]/[ HA]
BOH + H2O= B+ + OH-
Kb = [ B+][ OH-]/[ BOH]-ในกรณี Monoprotic Acid (HA)HA + H2O=H3O+ + A-
Ka = [H3O+ ][ A-]/[ HA]
BOH + H2O= B+ + OH-
Kb = [ B+][ OH-]/[ BOH]-ในกรณี Monoprotic Acid (HA)HA + H2O=H3O+ + A-
Ka = [H3O+ ][ A-]/[ HA]
3.การแตกตัวของน้ำ
น้ำจัดเป็นอิเล็กโทรไลต์ที่อ่อนมากจึงแตกตัวออกเป็นไอออน
ได้น้อยดังสมการ
2 H2O =H3O++ OH-
K = [H3O+][ OH-]/[ H2O]2เนื่องจากน้ำแตกตัวได้น้อยมาก ดังนั้นความเข้มข้นของน้ำไม่เปลี่ยนแปลง
โดย[H2O]บริสุทธิ์=55.56 mol/dm3
จาก K[H2O]2 = [H 3 O+][OH-]
จะได้ kw =[H3O+][ OH-]
ที่อุณหภูมิ 250 c kw = 1.0x10-14
ได้น้อยดังสมการ
2 H2O =H3O++ OH-
K = [H3O+][ OH-]/[ H2O]2เนื่องจากน้ำแตกตัวได้น้อยมาก ดังนั้นความเข้มข้นของน้ำไม่เปลี่ยนแปลง
โดย[H2O]บริสุทธิ์=55.56 mol/dm3
จาก K[H2O]2 = [H 3 O+][OH-]
จะได้ kw =[H3O+][ OH-]
ที่อุณหภูมิ 250 c kw = 1.0x10-14
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น